วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

เกี่ยวกับผู้เขียน


ชื่อ :  นายบดินทร์ ศราคนี รหัส 5311322175
กำลังศึกษาอยู่ : มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

เอก : ศิลปกรรมออกแบบประยุกต์ศิลป์ 
คณะ : มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ 
           ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กทม. 10900
ช่องทางติดต่อ
G-mail : Bodin.1905@gmail.com  
Blogger : http://artd3301-Bodin.blogspot.com
Facebook : Pipe Smallsingle
                   https://www.facebook.com/wackywanky.papilmpe

Tel. 083-7557319

Visual Analysis

  การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมอง  
(Product and Package Visual Analysis)


โดย บดินทร์ ศราคนี
27 มกราคม 2558

ก่อนการดำเนินงานออกแบบผลิตภัณฑ์และการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้แก่สินค้ายี่ห้ หรือ ผู้ผลิตราย ใดๆนั้น ผู้ออกแบบหรือนักพัฒนาควรต้องมีการวางแผนการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นอย่าง เป็นระบบ ซึ่งโดย ทั่วไปในทางปฏิบัติการทางวิชาชีพของนักออกแบบบรรจุภัณฑ์นั้น อาจจะเป็น การวางแผนและใช้สื่อบันทึก การดำเนินงานเอาไว้อย่างคร่าวๆ ซึ่งอาจเป็นการเขียนแผนผังทาง ความคิด (Mind Mapping) เป็นแผ่นโน๊ตย่อๆ (Note Pad) แสดงหัวข้อไว้บนแผ่นกระดาน (Mood Board) เขียนหรือพิมพ์ไว้ในแผน ปฏิบัติการ ผ่านทางสมุด(Diary)หรือปฏิทินงาน(Calendar) ตามระยะเวลา (Design Plan or Timeline Operation Schedules) หากจัดทำเป็นรายงานสรุปในเชิงวิชาการก็ควรจัดทำให้สมบูรณ์เป็นลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน สามารถที่จะตรวจสอบ ติดตาม และสรุปผลออกมาได้จริง เช่น การที่ควรต้องเริ่มต้น ด้วยการวางกรอบแนวคิด หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า การสร้างกรอบการดำเนินงาน (Frame Work  or Over View) เอาไว้ เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางภาพกว้างๆ ที่สามารถสื่อให้เห็นแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ

ที่มา : ประชิด ทิณบุตร,2555


Product's Package Visual Analysis : Structure and Graphic Components
การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลส่วนประกอบของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ด้วยวิธีการรับรู้ทางการมองเห็น

กรอบแนวคิดในการดำเนินงานออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์



ภาพที่ 1. ภาพแสดงการวางแผนกรอบแนวคิดของการดำเนินงานอย่างย่อโดยใช้ หลักการ 3 ส.  เพียง 3 ขั้นตอนเพื่อให้เห็นภาพรวมหรือเป็นจุดเริ่มต้น ของการที่จะดำเนินการคิดวางแผนงาน ในภาระกิจต่างๆ ที่จะ เกี่ยวข้องกับการอ้างอิงถึงการศึกษาข้อมูล ความรู้ ทฤษฎี หลักการ วิธีการ และแผนปฏิบัติการในเชิงลึก เฉพาะทางในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในลำดับต่อไป
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร,2555

การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมองเห็นนั้น เป็นวิธีการศึกษา วิเคราะห์- วิจัยข้อมูลเบื้องต้น ที่นักวิจัยด้านการออกแบบสร้างสรรค์ แทบทุกสาขาอาชีพ ในขอบ ข่ายสายงาน ด้านการ ออกแบบทัศนสื่อสาร หรือที่เรียกว่าออกแบบนิเทศศิลป์ (Visual Communication Design) นั้น ต้องใช้ ในการเริ่มต้นทำงานเสมอ โดยวิธีและการสังเกตุ คุณลักษณะรูปลักษณ์ที่ปรากฏภายนอก ของสิ่ง ใดๆนั้นโดยตรง โดยไม่ใช้เครื่องมือ หรือ เครื่องช่วยใดๆมาประกอบ (Observation of the obvious, external features without the aid of an instrument) เป็นการประมวลสรุปในสิ่งที่ได้รับรู้ ได้มองเห็น ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นการ ตรวจสอบหรือการบ่งชี้ถึงคุณลักษณะของสิ่งที่มองเห็น(Visual Inspection) โดย ใช้ดุลพินิจ หรือองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวของผู้สังเกต(Observed) ได้รับรู้(Percieved) และแปลความ หมาย (Translated and Transfered) ในสิ่งที่รู้ที่เห็นออกมาได้เช่นใด วิธีการใด หรือด้วยสื่อใดนั่น


วิธีการที่จะตรวจสอบในสิ่งที่ต้องการหาคำตอบให้ได้นั้น นักออกแบบก็ควรต้องอาศัย องค์ความรู้ ต่างๆที่ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์มา เพื่อที่จะประมวลสรุปผลออกมาให้ได้อย่างมี หลักการและเหตุผล ให้เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งนี้เพราะนักออกแบบ มีวิถีและวิธีการทำงาน ที่แตกต่างไปจากแนวทางการทำงา นของศิลปิน ในขอบข่ายทางศิลปะบริสุทธิ์ (Pure Art) นั่น ก็คือการศึกษาวิจัย และค้นหาแนวทาง ที่เป็นไป ได้จริง(Feasibility Study) หรือยึดกฏแห่งการ ใช้งานจริงภายในตัวผลงาน (Physical Fact and Workability or Functionality Study) ให้ได้ ก่อนการยึดมั่นในหลักการทางความสวยความงาม ที่ปรากฏ เห็น เป็นรูปลักษณ์ภายนอก อันเป็น ประเด็นรองตามหลักการของการสร้างสรรค์ผลงาน ประเภท ประยุกต์ศิลป์(Applied Arts) ดังนั้นในกระบวนการทำงานของนักออกแบบ จึงควรต้องแสดง หลักฐาน หรือต้องมีสื่อแสดง ให้เห็นซึ่ง วิธีการคิดวิเคราะห์ วิธีการแก้ปัญหา การใช้องค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อแสดง ทักษะการใช้เครืองมือและอุปกรณ์ช่วยการผลิต และเพื่อการนำเสนอผลงาน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกระบวนการทำงานนั้น ก็ต้องใช้เพื่อสื่อสารให้ผู้ร่วมงานอื่นๆ (Co-Producer) ได้ร่วม คิดร่วมสร้างความเข้าใจในเบื้องต้น  รวมถึงการสื่อสารไปให้ถึงผู้ใช้งานปลายทาง(End Users) ทั้งหลายนั้น นักออกแบบก็ต้องคิดวางแผน และคำนึงถึงเป็นการล่วงหน้าเอาไว้ด้วยเช่นกัน

ภาพที่ 2.ส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์สินค้าที่มองเห็นของลูกประคบหน้าสมุนไพร
หมายเลข 1 คือ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ ในที่นี้คือวัสดุที่เป็นถุง PET
หมายเลข 2 คือ ตัวผลิตภัณฑ์
หมายเลข 3 คือ เทคนิคการปิดโครงสร้าง Seal or Encloseure Technic
หมายเลข 4 คือ แผ่นสลากปิดบนตัวโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อการสื่อสาร
หมายเลข 5 คือ ข้อความ-กราฟิกอัตลักษณ์แสดงชื่อยี่ห้อสินค้า ( Logotype)
หมายเลข 6 คือ ข้อมูลแจ้งส่วนประกอบสำคัญของสินค้า
หมายเลข 7 คือ วิธีการใช้สินค้า
หมายเลข 8 คือ ข้อมูลบ่งบอกผู้ผลิต
หมายเลข 9 คือ สัญลักษณ์การรับรองความปลอดภัย-มาตรฐานการผลิต
หมายเลข 10 คือ สัญลักษณ์การรับรอง-มาตรฐานการผลิต
หมายเลข 11 คือ คำโฆษณา- ความดีของสินค้า-คำเชิญชวน
หมายเลข 12 คือ สื่อรูป-ภาพกราฟิก-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
หมายเลข 13 คือ ข้อความแจ้งวันที่ผลิต-วันหมดอายุ


การศึกษาสินค้าขู่แข่ง

สินค้าของผู้ประกอบการ




1>http://www.nongmingsamunpai.com/product/29/


วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปการเรียนการสอน (ครั้งที่3)วันพุธ ที่ 21 มกราคม 2558

สรุปการเรียนการสอน (ครั้งที่3) วันพุธ ที่ 21 มกราคม 2558



-ให้ศึกษา และหาวิธีตกแต่งเว็บบล็อกของตัวเอง จัดขนาดของตัวหนังสือหรือลูกเล่นต่างๆให้น่าสนใจ




-แปลสรุปข่าว หาข่าวและแปลบทความงานดีไซน์จาก The Dieline หรือจากแหล่งที่มาอื่น เพื่อนำเสนอในชั้นเรียน
Homework

-เตรียมตัวสอบปฏิบัติกลางภาค ให้ออกแบบโลโก้ 123ปี มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร (www.pnru.com)
-หาข้อมูลการทำ visual analysis
-ศึกษา product ที่เป็นสปา แล้วทำ visaul analysis อาจจะเป็นผลิตภัณฑ์ของจังหวัดชัยนาทก็ได้ หรือของที่อื่นก็ได้

ความหมายของบรรจุภัณฑ์

ความหมายของบรรจุภัณฑ์

โดย นาย บดินทร์ ศราคนี



10896942_1694413580785212_1991838351103772500_n.jpg
    แหล่งอ้างอิงจาก  หนังสือการบรรจุภัณฑ์ โดย ปุ่น คงเจริญเกียรติ ,สมพร คงเจริญเกียรติ


ความหมายของบรรจุภัณฑ์

“บรรจุภัณฑ์” หมายถึง สินค้าทุกชนิดที่ทำจากวัสดุใดๆ ที่นำมาใช้สำหรับห่อหุ้ม ป้องกัน ลำเลียง จัดส่ง และนำเสนอสินค้า ตั้งแต่วัตถุดิบถึงสินค้าที่ผ่านการผลิต ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้ใช้หรือผู้บริโภค“บรรจุภัณฑ์” ประกอบด้วย

แหล่งอ้างอิงจาก : หนังสือการบรรจุภัณฑ์
โดย : ปุ่น คงเจริญเกียรติ ,สมพร คงเจริญเกียรติ


10937847_838837776175996_815757528_n.jpg


                                
  แหล่งอ้างอิงจาก หนังสือการบรรจุภัณฑ์


ความหมายของบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์กลุ่ม (Group packaging) หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่สอง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ที่จุดซื้อกลุ่มสินค้าที่มีจำนวนขายมากกว่าหนึ่ง ไม่ว่าสินค้านั้นจะถูกขายให้กับผู้ใช้รายสุดท้ายหรือผู้บริโภคหรือไม่ก็ตาม และไม่ว่าบรรจุภัณฑ์นี้จะถูกใช้เพื่อการดึงสินค้าจากชั้นวางของ ณ จุดขายก็ตาม บรรจุภัณฑ์นี้สามารถถูกดึงออกจากสินค้าโดยไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะเฉพาะตัวของสินค้า
บรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่ง หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่สาม ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ใช้สำหรับช่วยในการลำเลียงและขนส่งสินค้า ที่ขายจำนวนมากหรือกลุ่มบรรจุภัณฑ์ เพื่อป้องกันความเสียหายทางกายภาพระหว่างการขนส่ง บรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งไม่รวมตู้คอนเทนเนอร์สำหรับการขนส่งทาง ถนน รางเลื่อน เรือหรือทางอากาศ
การตีความหมายของคำว่า “บรรจุภัณฑ์” ให้ถือตามเกณฑ์ต่อไปนี้จะถือว่าของสิ่งหนึ่งเป็นบรรจุภัณฑ์ ต่อเมื่อของสิ่งนั้นเป็นไปตามความหมายที่กล่าวข้างต้น โดยไม่พิจารณาคาบเกี่ยวกับหน้าที่อื่นที่บรรจุภัณฑ์อาจทำได้ เว้นแต่สิ่งสิ่งนั้นจะถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสินค้า และมีความจำเป็นเพื่อห่อหุ้ม พยุง หรือถนอมรักษาสินค้าตลอดอายุของสินค้านั้น และมีวัตถุประสงค์ให้ใช้ บริโภค หรือทิ้ง องค์ประกอบทุกชิ้นพร้อมกับสินค้าตัวอย่างสิ่งที่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: กล่องขนมหวาน แผ่นฟิล์มห่อรอบกล่องซีดีตัวอย่างสิ่งที่ไม่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: กระถางดอกไม้ที่มุ่งหวังให้อยู่คู่กับต้นไม้ตลอดอายุของต้นไม้ กล่องใส่เครื่องมือช่าง ถุงชา ชั้นแว็กซ์ห่อหุ้มเนยแข็ง ผิวหุ้มไส้กรอก เป็นต้น

แหล่งอ้างอิงจาก : หนังสือการออกแบบบรรจุภัณฑ์



10943857_1694618097431427_4394029200863682020_n.jpg


         แหล่งอ้างอิง หนังสือการออกแบบบรรจุภัณฑ์ในงานโลจิสติกส์ โดย ดร.คำนาย อภิปรัชญษาสกุล


ความหมายของบรรจุภัณฑ์

“การบรรจุภัณฑ์” หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ในการออกแบบและผลิตสิ่งห่อหุ้มผลิตภัณฑ์เพื่อการเก็บรักษา จำหน่าย และการตลาด โดยมีค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม โดยการใช้ทั้งศาสตร์ ศิลปะ และเทคโลโลยี ร่วมกัน


แหล่งอ้างอิง : หนังสือการออกแบบบรรจุภัณฑ์ในงานโลจิสติกส์
โดย : ดร.คำนาย อภิปรัชญษาสกุล
1781865_1694618067431430_4420056869059002045_n.jpg

แหล่งอ้างอิงจาก หนังสือ Packaging form and Design



ความหมายของบรรจุภัณฑ์
Packaging is the technology of enclosing or protecting products for distribution, storage, sale, and use. Packaging also refers to the process of design, evaluation, and production of packages. Packaging can be described as a coordinated system of preparing goods for transport, warehousing, logistics, sale, and end use. Packaging contains, protects, preserves, transports, informs, and sells. In many countries it is fully integrated into government, business, institutional, industrial, and personal use.

บรรจุภัณฑ์เป็นเทคโนโลยีของการปิดล้อมหรือปกป้องผลิตภัณฑ์สำหรับการกระจายการจัดเก็บการขายและการใช้งาน บรรจุภัณฑ์นอกจากนี้ยังหมายถึงกระบวนการของการออกแบบการประเมินผลและการผลิตของแพคเกจ บรรจุภัณฑ์ที่สามารถอธิบายเป็นระบบการประสานงานของการเตรียมความพร้อมสำหรับการขนส่งสินค้า, คลังสินค้า, การขนส่ง, การขายและการสิ้นสุดการใช้งาน บรรจุภัณฑ์ประกอบด้วยการปกป้องรักษาลำเลียงแจ้งและขาย ในหลายประเทศมันแบบครบวงจรในรัฐบาลธุรกิจสถาบันอุตสาหกรรมและการใช้งานส่วนตัว


แหล่งอ้างอิงจาก : หนังสือ Packaging form and Design







10931457_1694618620764708_503733865001699206_n.jpg

แหล่งอ้างอิงจาก หนังสือภาษาอังกฤษ FUN PAKAGING

ความหมายของบรรจุภัณฑ์

Packaging is the wrapping material around a consumer item that serves to contain, identify, describe, protect, display, promote and otherwise make the product marketable and keep it clean
   Packaging is more than just your product's pretty face. Your package design may affect everything from breakage rates in shipment to whether stores will be willing to stock it. For example, "displayability" is an important concern. The original slanted-roof metal container used for Log Cabin Syrup was changed to a design that was easier to stack after grocers became reluctant to devote the necessary amounts of shelf space to the awkward packages. Other distribution-related packaging considerations.
บรรจุภัณฑ์ คือ วัสดุที่ห่อรอบสินค้าของผู้บริโภคที่สามารถบรรจุ ระบุ อธิบาย ป้องกัน นำเสนอ ส่งเสริมและอื่น ๆ ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์สามารถวางขายตามท้องตลาดได้และต้องดูสะอาดตา
   บรรจุภัณฑ์เป็นมากกว่าเพียงแค่ใบหน้าสวยๆ ของผลิตภัณฑ์ของคุณ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของคุณอาจส่งผลกระทบต่อทุกอย่างตั้งแต่อัตราค่าเสียหายในการจัดส่งไปยังร้านค้าจนหรือทางร้านค้าจะยินดีที่จะสต็อกมันไว้ "displayability” (ความสามารถในการนำเสนอ) เป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึงอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น ภาชนะโลหะทรงหลังคาบ้านดั้งเดิมสำหรับน้ำเชื่อม Log Cabin ถูกเปลี่ยนให้เป็นการออกแบบที่ง่ายต่อการจัดวางมากขึ้น หลังจากร้านของชำไม่เต็มใจที่จะอุทิศพื้นที่ให้กับบรรจุภัณฑ์ที่แปลกๆ การพิจารณาบรรจุภัณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดจำหน่าย

แหล่งอ้างอิงจาก : หนังสือภาษาอังกฤษ FUN PAKAGING



สรุปความหมายของบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์เป็นการออกแบบ และผลิตสิ่งห่อหุ้มเพื่อการเก็บรักษา จำหน่าย และการตลาดโดยมีการโน้มน้าวใจเพื่อดึงดูดความสนใจ แก่ผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น

วันพฤหัสบดีที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปการเรียนการสอน (ครั้งที่2) วันพุธ ที่14 มกราคม 2558

ARTD3301 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ กลุ่ม101
สรุปการเรียนการสอน (ครั้งที่2) วันพุธ ที่14 มกราคม 2558

สมัคร Google plus ส่งงาน อัพเดทข้อมูลข่าวสาร ศึกษาการใช้งานของ Google plus ศึกษาโปรแกรมต่างๆ เช่น Book New. เพื่อรับข่าวสารและการแจ้งเตือนทุกอย่างขึ้นอยู่ตรงมุมบนขวา ข้างหน้า Google plus เราสามารถสร้าง Grop ต่างๆ ได้จากหน้า Google plus
               
งานที่จัดเก็บ อาจารย์ จะแชร์ไว้ใน Drive การจัดเก็บไฟล์ (Folder) new/folder ฝากไฟล์และอัพโหลดงาน
เรื่องส่งงาน ให้ใช้
– file upload เพิ่มเติมอื่นๆ อยู่ใน new (ส่งงานใน My Drive) ใน My Drive/อาจารย์ประชิด กลุ่ม
(artd3301-101-2-57) การเข้าโดยไม่มีการบรรทึกศ้ำหรือแก้ไขจากคนอื่นได้โดยจะตั้งเวลาแชร์ (Can Edit) เวลาการเข้าเรียน ถ้าขาด2ครั้งขึ้นไปจะขึ้นเตือนสีเหลือง
                การสร้างไฟล์ใหม่
File/new/document (copy จากตัวอย่างได้แต่ห้ามแก้ไข) เอกสารที่ต้องทำในการเริ่มต้นใช้ค่ามาตรฐานขนาดกระดาษ A4 ซ้าย:1.5” บน:1.5ล่าง:1ขวา:1” Margins./ ล่างสุด Custom margins.
               
ตั้งค่า
-
Front Th Sarabannew 16.

-Paragraph/agnment/เลือก thai Distributed
-spaceing
รูปแบบการทำรายงานนำภาพมาใส่ และต้องมีคำบรรยายภาพ เช่น (บรรยาย)ภาพที่1 แสดงหน้าจอกการสร้างไฟล์ใหม่จากเมนู ใน Googledoc แสดงหน้าล่างภาพจอ สร้างไฟล์ใหม่ จากเมนูไฟล์ใน Googledoc
                :
ที่มา ประชิด ทิณบุตร – 2558 / อธิบายเนื้อหา.....
-บนนทึกการเรียนรู้ด้วยตัวเอง / เรื่องการสร้างไฟล์ เอกสารด้วย
Googledoc App โดย ผศ.ประชิด ทิณบุตร